กัญชาไฟฟ้า เริ่มกลายเป็นที่นิยมกันมากขึ้นทั้งในหมู่ของนักสูบรายใหม่และนักสูบรายเก่าที่ต้องการลดการสูบบุหรี่ลง เหตุผลคงเป็นเพราะว่า บุหรี่ไฟฟ้า สายเขียว สามารถกำหนดปริมาณของ น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้ากัญชา เองได้ รวมถึงสารที่ใช้นั้นได้รับการรับรองจากองค์กรที่น่าเชื่อถืออย่าง อย. ว่าส่งผลเสียต่อร่างการน้อยที่สุด ดังนั้น สำหรับบทความนี้ เราจะทำให้คุณมั่นใจได้ยิ่งขึ้นว่า บุหรี่ไฟฟ้า สายเขียวน้ำยากัญชา  สามารถเป็นทางเลือกดีกว่าให้กับคุณในการเลือกสูบบุหรี่ แล้วจะดีกว่ายังไง ไปดูกันได้เลย

ข้อมูลเชิงลึกของ ต้นกัญชา ที่คุณอาจไม่รู้

เชื่อกันว่ามีกัญชามากกว่า 700 สายพันธุ์ที่ มีการเพาะปลูก  ความแตกต่างที่ เห็นได้ชัดของกัญชาแต่ละพันธุ์ ไม่ได้กำหนดจาก สารแคนนาบินอยด์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงสารเทอร์ปีน ด้วย องค์ประกอบทางเคมีเหล่านี้ ทำหน้าที่เป็นสารเคมีบ่งชี้ และสามารถใช้เพื่อกำหนดความหลากหลายทางเคมีของกัญชาในปัจจุบัน และจากการวิเคราะห์ความเข้มข้นของสารประกอบเหล่านี้ ทำให้นักวิจัย สามารถระบุกัญชาบางพันธุ์ที่มีคุณสมบัติทางเคมีที่กำหนดได้เพื่อใช้ในวัตถุประสงค์ ด้านการพัฒนาการแพทย์ ต้นกัญชาบางพันธุ์เหล่านี้ สามารถนำไปใช้ในการทดสอบทางคลินิกเพื่อตรวจสอบฤทธิ์ทาง ชีวภาพบางอย่างก่อนจะนำเสนอเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่

ข้อมูลเชิงลึกจากการวิเคราะห์ที่ได้จะสร้างความเข้าใจที่ดีขึนเกี่ยวกับอนุกรมวิธานกัญชา การจำแนกพืชเชิงวิทยาศาสตร์ ในอดีตการแยกความแตกต่างระหว่าง sativa และ indica มีข้อถกเถียงมากมาย การจำแนกชนิดพืชก่อนหน้านี้ จะอิงจากความแตกต่างขององค์ประกอบทางเคมี โดยเฉพาะความแตกต่างของสารเทอร์ปีน อย่างไรก็ตามใน ปัจจุบันก็ยังไม่มีการวิจัยที่เป็นข้อสรุปความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่าง Cannabis indica และ Cannabis sativa ดังนั้นแม้ว่ากัญชา พันธุ์ต่างๆ จะแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด แต่ความสำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์ ได้เปลี่ยนไปเป็นสมมติฐานว่ากัญชาทั้งหมดถูกจัดจำแนกอยู่ใน Cannabis sativa

สายเขียวน้ำยากัญชา

ต้นกัญชา สารเคมีและองค์ประกอบ สำหรับ สายเขียวน้ำยากัญชา

กัญชาก็เหมือนกับพืชชนิดอื่นที่ มีสารประกอบทางเคมีหลายร้อยชนิด และยังแบ่งออกเป็นหลายประเภท บางคนอาจแบ่งประเภทออกเป็น indica sativa หรือ ruderallis แต่ทั้งหมดต่างเป็นพืชชนิดเดียวกันนั่นคือ Cannabis sativa L. ซึ่งเป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae ผู้คนมากมายคุ้นเคยกับกัญชาในชื่อกัญชง พืชอีกชนิดหนึ่งทีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกัญชาคือ Humulus lupulus L. หรือทีรู้จักกันในอีกชื่อว่า ฮ็อพ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเบียร์ 

กล่าวกันว่ากัญชามีต้นกำเนิดในพืนที่แห้งแล้งของภูมิภาคเอเชียกลาง (ที่ราบยูเรเซีย) โดยมีแนวโน้มว่าจะเป็นพืนที่บริเวณฮินดูกูช แนวเขา 800 กิโลเมตรทีทอดยาวระหว่างชายแดนปากีสถาน และอัฟกานิสถานแห่งนี้เป็นสถานที่สำคัญของเส้นทางสายไหมอันเก่าแก่ ซึ่งเป็นเครือข่ายเส้นทางการค้าซึ่งเชื่อมต่อทั่วยูเรเซีย เส้นทางการค้าทางบก และทางทะเลได้ช่วยขนย้ายสินค้ามากมายรวมถึงกัญชาในรูปแบบต่างๆ ใยกัญชง เมล็ดที่ มีน้ำมัน ของมึนเมา ยา และ สายเขียวน้ำยากัญชา ไปทางตะวันออกจนถึง คาบสมุทรเกาหลีและทางตะวันตกไปจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนี ยน ในปัจจุบันพบว่ามีการปลูกกัญชาอยู่ทั่วทุกมุมโลก ยกเว้นในพืนที่ป่าฝนเขตร้อนที่ มีสภาพอากาศชื้น

ต้นกัญชาแบ่งออกเป็นต้นเพศผู้และต้นเพศเมีย ซึ่งแต่ละประเภทจะมีลักษณะการออกดอกที่แตกต่างกัน ต้นกัญชาเป็นพืชปีเดียว โดยทั่วไปต้นกัญชาจะสูงราว 2 ถึง 3 เมตร (7 ถึง 10 ฟุต) และหลังจากออกดอกแล้วจะหยุดการเจริญเติบโตทางลำต้น หลังจากต้นเพศเมียได้ รับการผสมพันธุ์เมล็ดจะสุกและต้นจะตายไป

สารแคนนาบินอยด์ (cannabinoid) ในต้นกัญชา ที่ สายเขียวน้ำยากัญชา ควรรู้

สารแคนนาบินอยด์ สารประกอบทางเคมีมากกว่า 500 ชนิดถูกผลิตจากต้นกัญชา ในจำนวน เหล่านั้นมีสารประกอบทางเคมีอย่างน้อย 100 ชนิดที่ มีอยู่ในต้นกัญชา เท่านั้น ซึ่ งก็คือสารแคนนาบินอยด์ สารแคนนาบินอยด์ที่ได้จากพืช มีชื่อเรียกว่า สารไฟโตแคนนาบินอยด์ สารไฟโตแคนนาบินอยด์หลัก และเป็นชนิดทีรู้จักมากที่สุด คือ เดลต้า 9 เตตร้าไฮโดรแคนนาบินอยด์ และแคนนาบิไดออล (CBD) ใน น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า cbd  เป็นสารออกฤทธิ์ต่อจิต ประสาท ขณะที่ CBD ไม่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท กล่าวคือ สารนี้จะไม่ปรับเปลี่ยนการรับรู้และความรู้สึกตัว

แคนนาบินอยด์ เป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ ความเข้มข้นของสารแคนนาบินอยด์แตกต่างกันไปตามส่วนของพืช ยกเว้นเมล็ด และราก โดยพบความเข้มข้นของสารสูงสุดในดอกเพศเมียที่ยังไม่ได้ผสมพันธุ์ 

ฤทธิ์ทางชีวภาพส่วนใหญ่เชื่อมโยงกับสารแคนนาบินอยด์หลัก ได้แก่ THC และ CBD แม้ว่า THC และ CBD จะออกฤทธิ์แตกต่างกัน แต่ ก็เริ่มเห็นได้ชัดว่าสารแคนนาบินอยด์หลายชนิดและองค์ประกอบอื่นๆ ของต้นกัญชาอาจเกี่ยวข้องกับผลด้านการบำบัดโรคมากมายของพืชชนิดนี้ สารแคนนาบินอยด์เหล่านั้นรวมถึง Cannabinoids Tetrahydrocannabivarin (THCV) Cannabichromene (CBC) และ Cannabigerol (CBG) ซึ่งเชื่อว่าสารแคนนาบินอยด์เหล่านี้ สามารถช่วยบรรเทาหรือเพิ่มผลทางชีวภาพได้บางส่วนเมื่ อบริโภคเพื่ อ การบำบัดโรค ผลที่ได้รับอาจเกิดจากสารเหล่านั้นทำงานเองหรือทำงานร่วมกับ THC และ CBD 

สายเขียวน้ำยากัญชา

เทอร์ปีน (Terpene) ในกัญชา

สารประกอบหลักอีกประเภทหนึ่งในกัญชา คือ สารเทอร์ปีน ซึ่งเป็นสาร ประกอบอะโรมาติกที่ทำให้กัญชาแต่ละพันธุ์ มีกลิ่นและรสแตกต่างกัน สารเทอร์ปีนอาจมีฤทธิ์บำบัดโรคเพิ่มเติม โดยสารเหล่านี้ อาจทำงาน ร่วมกับสารแคนนาบินอยด์เพื่อเปลี่ยนหรือเพิ่มฤทธิ์ทางยา ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบันเราพบสารเทอร์ปีนมากกว่า 120 ชนิดในกัญชา โดยสารเทอร์ปีนแตกต่างจากสารแคนนาบินอยด์ เนื่องจากสารเทอร์ปีนหลัก ทั้งหมดที่ พบในกัญชา เช่น Myrcene, Alpha-Pinene และ BetaCaryophyllene สามารถพบได้ ในธรรมชาติเป็นจำนวนมาก 

เชื่อกันว่าสารเทอร์ปีนทำงานร่วมกับสารแคนนาบินอยด์ เพื่อเปลี่ยนหรือเพิ่มฤทธิ์ของสารแคนนาบินอยด์ ผลของการทำงานร่วมกันของสาร นี้มีชื่อเรียกที่เป็นที่ รู้จักคือ เอ็นทูราจเอฟเฟกต์ (Entourage effect)

ต่อมเรซินของกัญชา

สารแคนนาบินอยด์ และเทอร์ปีน ใน สายเขียวน้ำยากัญชา ถูกผลิตขึนในต่อมเรซินของกัญชา ซึ่งเรียกว่า ขนมีต่อม ขนนี้ จะอยู่บนผิวของทุกส่วนของต้นกัญชาทั้งต้น โดยพบว่าจะอยู่หนาแน่นที่ สุดในช่อดอกของต้นกัญชาเพศเมีย สารแคนนาบินอยด์ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปกรดที่ยังไม่ทำงาน ซึ่งสารชนิดนี้ที่มีฤทธิ์ทางยา เช่น THC และ CBD จะถูกสร้างขึนก็ต่อเมื่อกัญชาได้รับความร้อนที่อุณหภูมิอย่างน้อย 180°C ซึ่งจะส่งผลให้เกิดกระบวนการ “ดีคาร์บอกซิเลชั่น” เมื่อใช้เครืองพ่นไอระเหย สารแคนนาบินอยด์ที่ออกฤทธิ์จะถูกปล่อยออกมาจากขนมีต่อมในรูปไอระเหย ที่อุณหภูมิ 230°C ซึ่งสามารถสูดเข้าปอดได้

สารในน้ำมันกัญชา ส่งผลอย่างไรต่อ สายเขียวน้ำยากัญชา 

มนุษย์มีระบบตัวรับสารแคนนาบินอยด์โดยเฉพาะ เช่น เดียวกับกรณีของระบบโอปิออยด์ที่ตอบสนองต่อสาร โอปิออยด์ต่างๆ เช่น มอร์ฟีน โคเดอีน ส่วนระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ (ECS) ประกอบไปด้วยตัวรับ สารแคนนาบินอยด์ (CB) และส่งผลต่อกิจกรรมของระบบร่างกายต่างๆ มากมาย สารไฟโตแคนนาบินอยด์ ในต้นกัญชาทำงานเช่นเดียวกับเอ็นโดแคนนาบินอยด์ทีผลิตขึ้นเอง ในร่างกาย

สมองของมนุษย์และอวัยวะอื่นๆ มีตัวรับสารแคนนาบินอยด์ (CB) ที่เกิดขึนเองตามธรรมชาติ และสารเคมีที่จับกับตัวรับเหล่านั้นเราเรียก ระบบนี้ว่า ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ของมนุษย์ (ECS) หน้าที่ของ ECS คือ การรักษาความสมดุลของร่างกายให้ทำงานเป็นปกติ โดยการควบคุมการทำงานของระบบต่างๆ ระบบนี้มีหน้าที่ สำคัญใน ระบบประสาทของเรา และควบคุมหลายๆ กระบวนการทางกายภาพ ซึ่งรวมถึงการปรับเปลี่ยนอาการตอบสนองต่อความปวด ความอยาก อาหาร การย่อยอาหาร การนอน อารมณ์ การอักเสบ และการจดจำ ECS ยังช่วยลดระดับชัก หรือโรคลมชัก รวมถึงส่งผลต่อการทำงานร่วมกัน และกระบวนการอื่นๆ เช่น ระบบภูมิคุ้มกัน การทำงานของหัวใจ ระบบประสาทสัมผัส การเจริญพันธุ์ สรีระของกระดูก และระบบตอบสนองต่อความเครียด ส่วนกลาง (HPAA) การพัฒนาระบบประสาทและความดันลูกตา ในร่างกายมนุษย์สามารถสร้างสารแคนนาบินอยด์ ที่เหมือนกัน สายเขียวน้ำยากัญชา ได้เองได้คือ สารเอ็นโดแคนนาบินอยด์ สารชนิดนี้ สามารถออกฤทธิ์หรือกระตุ้นตัวรับ แคนนาบินอยด์ ซึ่งมีกลไกการทำงานเช่นเดียวกับสารไฟโตแคนนาบินอยด์ ซึ่งจับกับตัวรับเหล่านั้น สารแคนนาบินอยด์ที่ได้จากพืชมีชื่อเรียกว่าสารไฟโตแคนนาบินอยด์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบเฉพาะที่พบในต้นกัญชา โดยมีสารเตตร้าไฮโดรแคนนาบินอล (THC) และแคนนาบิไดออล (CBD) เป็นองค์ประกอบหลัก เรายังพบสารแคนนาบินอยด์ชนิดอื่นๆ แต่ยังไม่มีรายละเอียดที่ ชัดเจนในปัจจุบัน